เป้าหมายเชิงกลยุทธ์

1. ลดจำนวน Hotspot (จากแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 จากการเผาในที่โลง) ที่ไม่ได้รับอนุญาต ไม่ให้เกิน 5,000 จุด/ปี ของพื้นที่เป้าหมาย 8 จังหวัด

2. ลดจำนวนวันที่ค่าฝุ่น PM2.5 เกินมาตรฐาน ไม่เกิน 50 วัน/ปี *** ของพื้นที่เป้าหมาย 8 จังหวัด

3. ลดจำนวนสถิตผู้ป่วย COPD ที่แอดมิทครั้งแรกจากสาเหตุฝุ่น ไม่ให้เกิน 1,000 คน/ปี ของพื้นที่เป้าหมาย 8 จังหวัด

พื้นที่เป้าหมาย ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ดังนี้ แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา น่าน ลำพูน ลำปาง แพร่

 

1. รวมเป้าลดจุด hotspot ยังไม่ตัดนับซ้ำ จำนวน 27 โครงการ เท่ากับ 5,828 จุด

    จาก baseline 6,242 จุด (ค่าเฉลี่ยรวม 8 จังหวัดปี 2562 – 2567)

    เมื่อซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ของการดำเนินงานและตัดข้อมูลซ้ำออกจะเหลือเป้าลดจุด hotspot จำนวน 3,397 จุด

    จาก baseline 6,242 จุด (ค่าเฉลี่ยรวม 8 จังหวัดปี 2562 – 2567)

2. รวมเป้าลดวันที่ค่า PM2.5 เกินมาตรฐาน จำนวน 11 โครงการ ทำใน 9 จังหวัด

3. รวมเป้าลดจำนวนผู้ป่วย COPD จำนวน 6 โครงการ ทำใน 8 จังหวัด จำนวน 572 ราย

พื้นที่ดำเนินการ รวม 273 ตำบล 172 อำเภอ 9 จังหวัด

กราฟแสดงความก้าวหน้าของการดำเนินการ

ประจำปี   ช่วงเวลา
14 56 61 23 94 4 2 2 1

ตารางแสดงความก้าวหน้าของการดำเนินการ

# ประจำปีแผนงานโครงการเดือนที่ 1 (%)เดือนที่ 3 (%)เดือนที่ 6 (%)เดือนที่ 9 (%)เดือนที่ 12 (%)
1 2568 การบริหารจัดการน้ำด้วยนวัตกรรมระบบสูบน้ำพลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 90 95 100 85 100
2 2568 น้ำเพื่อชุนชน : วิจัยและนวัตกรรมในการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่ขาดแคลนน้ำจังหวัดขอนแก่นและชัยภูมิ 50 75 80 100 0
3 2568 ระบบเฝ้าระวังโรคและผลกระทบทางสุขภาพระดับจังหวัดในเขตภาคเหนือตอนบน 70 0 0 0 0
4 2569 การบริหารจัดการน้ำด้วยนวัตกรรมระบบสูบน้ำพลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 45 70 0 0 0
5 2569 น้ำเพื่อชุนชน : วิจัยและนวัตกรรมในการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่ขาดแคลนน้ำจังหวัดขอนแก่นและชัยภูมิ 99 80 100 0 0
6 2568 การจัดการน้ำเสียสีย้อมด้วยนวัตกรรมถ่านกัมมันต์จากเศษกระจูดเพื่อความมั่นคงทางน้ำในลุ่มทะเลสาบสงขลา 10 0 0 0 0
7 2568 การบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยเลาและสาขา จังหวัดน่าน 20 0 0 0 0
8 2568 การจัดการความเสี่ยงน้ำแล้งโดยมีชุมชนเป็นฐาน พื้นที่คาบสมุทรทิงพระ : กรณี ต.บ้านขาว อ.ระโนด และ ต.รำแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา 10 0 0 0 0
9 2568 การเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการน้ำเพื่อบรรเทาภัยแล้งและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตผลทางการเกษตรของชุมชนอย่างยั่งยืน 5 0 0 0 0


ข่าวสารประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง