ลำดับ
| แผนงาน | โครงการดำเเนินการ | จังหวัด | พื้นที่ดำเนินการ | ผู้รับผิดชอบ | หมายเหตุ |
1
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การจัดการน้ำเสียสีย้อมด้วยนวัตกรรมถ่านกัมมันต์จากเศษกระจูดเพื่อความมั่นคงทางน้ำในลุ่มทะเลสาบสงขลา
|
สงขลา
|
|
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย อินทะไชย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
|
|
2
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การบริหารจัดการน้ำด้วยนวัตกรรมระบบสูบน้ำพลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
|
น่าน
|
|
รองศาสตราจารย์ ดร.กันต์ อินทุวงศ์
มหาวิทยาลัยราขภัฏอุตรดิตถ์
|
|
3
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การบริหารจัดการน้ำตามแนวพระราชดำริเพื่อความมั่นคงด้านน้ำของชุมชนบนพื้นที่สูง อำเภอกัลป์ยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
|
เชียงใหม่
|
|
นายพิเชษฐ์ ทานิล
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
|
|
4
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติน้ำท่วมเชียงราย โดยใช้เครือข่ายเชิงพื้นที่
|
เชียงราย
|
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
5
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
นวัตกรรมเครื่องป้องกันและกำจัดฝุ่น PM2.5 สำหรับพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
|
เชียงใหม่
|
|
ผศ.ดร.ชาย ชมภูอินไหว
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
|
|
6
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
บูรณาการกลยุทธ์การลดฝุ่นละอองพิษ PM2.5 ในพื้นที่ทำการเกษตรด้วยนวัตกรรมการเกษตรและแนวปฏิบัติด้านการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมรายได้ทางเลือกและการเข้าถึงตลาดระดับพรีเมียม
|
ลำปาง
|
|
รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
7
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
ระบบเกษตรทางเลือกเพื่อลดจุดความร้อน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว
|
เชียงใหม่
|
|
ผศ.ดร.มนตรี ปัญญาทอง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
8
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
การพัฒนาเครือข่ายชุมชนการจัดการเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อลดจุดความร้อน hot spot และฝุ่นละอองขนาดเล็กจิ๋ว PM2.5 ในจังหวัดน่าน
|
น่าน
|
|
ผศ.ดร.เอกชัย ดวงใจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
|
|
9
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
การปรับเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อลดจุดความร้อน (hot spot) และฝุ่นละอองขนาดเล็กจิ๋ว (PM2.5) สู่ห่วงโซ่ อุปทานใหม่ในอุตสาหกรรมการผลิตปศุสัตว์
|
เชียงราย
|
|
ผศ.สพ.ญ.ดร.พชรพร ตาดี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
|
10
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
พัฒนาการปลูกไม้ดอก เพื่อลดการเผาพื้นที่การเกษตร สู่การท่องเที่ยววิถีใหม่
|
แม่ฮ่องสอน
|
|
อ.ดร.นุชรัฐ บาลลา
มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
|
|
11
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
การขยายผลและส่งเสริมแนวทางปฏิบัติที่ดีของการจัดการวัสดุเกษตรและการใช้นวัตกรรมจุลินทรีย์ย่อยตอซังข้าวและข้าวโพดในพื้นที่จังหวัดน่าน
|
น่าน
|
|
ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
12
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
การศึกษาวิจัยสร้างเครือข่ายแหล่งเรียนรู้อาสาชุมชนจัดการฝุ่นควันและไฟป่าลุ่มน้ำสายหลักจากมิติภูมิปัญญาชนเผ่า จังหวัดเชียงราย
|
เชียงราย
|
|
ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
|
13
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
การพัฒนาและเน้นศักยภาพอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ด้วยการใช้ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการจัดการไฟป่าโดยชุมชนอย่างยั่งยืนจากพื้นที่นำร่องสู่พื้นที่ขยายผล ในจังหวัดลำปาง
|
ลำปาง
|
|
นายชาญ อุทธิยะ
พี่เลี้ยงงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดลำปาง
|
|
14
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
โครงการพัฒนาระบบตรวจจับและเฝ้าระวังไฟป่าแบบครบวงจร
|
แพร่
|
|
รศ.ดร.ปานใจ รทัศนวงศ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
|
|
15
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
แนวทางป้องกันและควบคุมไฟป่าร่วมกับการทำเกษตรกรรมที่เหมาะสมเพื่อการบริหารจัดการสมดุลของป่าและน้ำอย่างยั่งยืน
|
เชียงใหม่
|
|
ผศ.ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
|
|
16
|
แผนงานฝุ่น PM 2.5
|
เครื่องตรวจวัดฝุ่นละอองในไอเสียรถยนต์แบบเวลาจริงและเคลื่อนย้ายได้โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ค่าความนำทางไฟฟ้า
|
เชียงใหม่
|
|
รศ.ดร.พานิช อินต๊ะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
|
|
17
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การจัดการความเสี่ยงและการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่จังหวัดน่าน
|
น่าน
|
|
รองศาสตราจารย์ ดร.พีรวัฒน์ ปลาเงิน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
18
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยเลาและสาขา จังหวัดน่าน
|
น่าน
|
|
นายอภิสิทธิ์ ลัมยศ
ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จ.น่าน
|
|
19
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การจัดการความเสี่ยงน้ำแล้งโดยมีชุมชนเป็นฐาน พื้นที่คาบสมุทรทิงพระ : กรณี ต.บ้านขาว อ.ระโนด และ ต.รำแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา
|
สงขลา
|
|
ดร.พีรพัฒน์ โกศลศักดิ์สกุล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
|
|
20
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการน้ำเพื่อบรรเทาภัยแล้งและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตผลทางการเกษตรของชุมชนอย่างยั่งยืน
|
กำแพงเพชร
|
|
ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
|
|
21
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
กลยุทธ์บูรณาการเพื่อลดภัยแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : “ขอนแก่นโมเดลลดแล้ง”
|
ขอนแก่น
|
|
ศ.ดร.ไชยณรงค์ นาวานุเคราะห์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
22
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำขององค์กรผู้ใช้น้ำและเครือข่ายเพื่อสร้างความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ
|
ชัยภูมิ
|
|
ดร.เชาวลิต สิมสวย
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
|
|
23
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง จังหวัดเชียงใหม่
|
เชียงใหม่
|
|
รศ.ชูโชค อายุพงศ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
24
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วม ในเขตเมืองขอนแก่น
|
ขอนแก่น
|
|
ผศ.ดร.วรพงษ์ โล่ไพศาลกฤช
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
25
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง จังหวัดเชียงราย
|
เชียงราย
|
|
ดร.อังกูร ว่องตระกูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
|
|
26
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การจัดการน้ำท่วมในเขตเมืองเพื่ออนาคตของเมืองเชียงราย
|
เชียงราย
|
|
รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
27
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
รูปแบบการจัดการภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐานผสมผสานกับนวัตกรรมการบริหารจัดการภัยด้วยเทคโนโลยีและนโยบายสาธารณะการศึกษาเหตุการณ์ดินถล่ม พ.ศ. 2567 ในจังหวัดเชียงราย
|
เชียงราย
|
|
รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
28
|
แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง
|
การจัดการน้ำเสียสีย้อมด้วยนวัตกรรมถ่านกัมมันต์จากเศษกระจูดเพื่อความมั่นคงทางน้ำในลุ่มทะเลสาบสงขลา
|
พัทลุง
|
|
รองศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย อินทะไชย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
|
|