โครงการดำเนินการ

รายละเอียดโครงการดำเนินการที่ได้รับมอบหมาย

จำนวนโครงการทั้งสิ้น 69 โครงการ
เลือกแผนงานที่ต้องการ
ลำดับ แผนงานโครงการดำเเนินการผู้รับผิดชอบ
1 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การจัดการน้ำเสียสีย้อมด้วยนวัตกรรมถ่านกัมมันต์จากเศษกระจูดเพื่อความมั่นคงทางน้ำในลุ่มทะเลสาบสงขลา รองศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย อินทะไชย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
2 แผนงานฝุ่น PM 2.5 นวัตกรรมเครื่องป้องกันและกำจัดฝุ่น PM2.5 สำหรับพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ผศ.ดร.ชาย ชมภูอินไหว
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำตามแนวพระราชดำริเพื่อความมั่นคงด้านน้ำของชุมชนบนพื้นที่สูง อำเภอกัลป์ยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ นายพิเชษฐ์ ทานิล
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
4 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติน้ำท่วมเชียงราย โดยใช้เครือข่ายเชิงพื้นที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ จันทะคุณ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
5 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การจัดการความเสี่ยงและการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่จังหวัดน่าน รองศาสตราจารย์ ดร.พีรวัฒน์ ปลาเงิน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยเลาและสาขา จังหวัดน่าน นายอภิสิทธิ์ ลัมยศ
ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จ.น่าน
7 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การจัดการความเสี่ยงน้ำแล้งโดยมีชุมชนเป็นฐาน พื้นที่คาบสมุทรทิงพระ : กรณี ต.บ้านขาว อ.ระโนด และ ต.รำแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา ดร.พีรพัฒน์ โกศลศักดิ์สกุล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
8 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการน้ำเพื่อบรรเทาภัยแล้งและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตผลทางการเกษตรของชุมชนอย่างยั่งยืน ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
9 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำเพื่อขจัดภัยแล้งและสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตผลทางการเกษตรของชุมชนอย่างยั่งยืน ผศ.ดร.ทนงศักดิ์ มูลตรี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
10 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง กลยุทธ์บูรณาการเพื่อลดภัยแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : “ขอนแก่นโมเดลลดแล้ง” ศ.ดร.ไชยณรงค์ นาวานุเคราะห์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
11 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำด้วยนวัตกรรมระบบสูบน้ำพลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน รองศาสตราจารย์ ดร.กันต์ อินทุวงศ์
มหาวิทยาลัยราขภัฏอุตรดิตถ์
12 แผนงานฝุ่น PM 2.5 ระบบเฝ้าระวังโรคและผลกระทบทางสุขภาพระดับจังหวัดในเขตภาคเหนือตอนบน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
13 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง น้ำเพื่อชุนชน : วิจัยและนวัตกรรมในการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่ขาดแคลนน้ำจังหวัดขอนแก่นและชัยภูมิ รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร อินทะชัย
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร
14 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำขององค์กรผู้ใช้น้ำและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เชื่อมโยงกับแผนการจัดการน้ำระดับจังหวัด นายชิษณุวัฒน์ มณีศรีขำ
บริษัท สร้างสรรค์ปัญญา จำกัด และ ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
15 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง แผนปฏิบัติการน้ำจังหวัดและการตลาด : การขยายผลการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการระดับจังหวัด ผศ.ดร.โพยม สราภิรมย์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
16 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำขององค์กรผู้ใช้น้ำและเครือข่ายเพื่อสร้างความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ดร.เชาวลิต สิมสวย
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
17 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การขยายผลการจัดการน้ำชุมชนตามแนวพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 สู่พื้นที่ชุมชนเข้มแข็ง รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างยั่งยืน ดร.รอยบุญ รัศมีเทศ
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน)
18 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รศ.ชูโชค อายุพงศ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
19 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วม ในเขตเมืองขอนแก่น ผศ.ดร.วรพงษ์ โล่ไพศาลกฤช
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
20 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง ระบบการเตือนภัยและแนวทางการป้องกันน้ำท่วมในเขตเมือง จังหวัดเชียงราย ดร.อังกูร ว่องตระกูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
21 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดเมืองฟองน้ำเพื่อช่วยลดปัญหาน้ำท่วมเมืองขอนแก่น เชียงใหม่ และ เชียงราย ดร.ภวิสร ชื่นชุ่ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
22 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การจัดการน้ำท่วมในเขตเมืองเพื่ออนาคตของเมืองเชียงราย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
23 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง รูปแบบการจัดการภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐานผสมผสานกับนวัตกรรมการบริหารจัดการภัยด้วยเทคโนโลยีและนโยบายสาธารณะการศึกษาเหตุการณ์ดินถล่ม พ.ศ. 2567 ในจังหวัดเชียงราย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
24 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การพัฒนาแผนที่และข้อมูลความสูงของพื้นที่ความแม่นยำสูง ผศ.ดร.ภูดินันท์ สิงห์คำฟู
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
25 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การจัดการระบบน้ำและการจัดการแปลงผลิตไม้ดอกเศรษฐกิจแบบองค์รวม ผศ.ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
26 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การประยุกต์ใช้หลักการโคก-หนอง(ร่วม)-นา-(ผสม) เพื่อการผลิตพืชหมุนเวียนแบบใช้น้ำแบบประหยัดและการปลูกข้าวคาร์บอนต่ำในพื้นที่น้ำท่วมและภัยแล้งริมกว๊าน-ลุ่มน้ำอิง จังหวัดพะเยา และ จังหวัดเชียงราย ผศ.ดร.สุขทัย พงศ์พัฒนศิริ
มหาวิทยาลัยพะเยา
27 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำในสวนลำไยด้วยเทคโนโลยีเกษตรแม่นยำในพื้นที่ขาดแคลน รศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท
มหาวิทยาลัยนเรศวร
28 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง นวัตกรรมการผลิตผักในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม-น้ำแล้ง ผศ.ดร.ชัชมาศ กาญจนอุดมการณ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
29 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง ระบบภูมิสารสนเทศและการเชื่อมโยงชุดข้อมูลน้ำตำบลกับข้อมูลน้ำจังหวัด รศ.ดร.สรรเพชญ ซื้อนิธิไพศาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง แผนแม่บทและระบบสนับสนุนการตัดสินใจการจัดการเติมน้ำใต้ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำมูล ผศ.ดร.โพยม สราภิรมย์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
31 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการสำหรับวางแผนตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จเพื่อการแก้ไขปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 (ระยะที่ 2) รศ.ดร.รัฐสิทธิ์ สุขะหุต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
32 แผนงานฝุ่น PM 2.5 นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศแสดงการจัดกลุ่มและคาดคะเนการลุกลามของไฟป่าจากข้อมูลจุดความร้อน (hotspot) ในประเทศไทย ระยะที่ 2 นายนพคุณ แก้วสิงห์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (อส.)
33 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การบริหารจัดการและควบคุมไฟป่าด้วยระบบตามไฟ และการศึกษาการใช้ประโยชน์จากข้อมูลดาวเทียม Himawari รศ.ดร.สรรเพชญ ซื้อนิธิไพศาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
34 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การประยุกต์ใช้ข้อมูลพื้นที่เผาไหม้ในการลดเผาในที่โล่งแบบบูรณาการ ผศ.พ.ท.ดร.สรวิศ สุภเวชย์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
35 แผนงานฝุ่น PM 2.5 ห้องลดฝุ่นแรงดันบวกควบคู่ระบบเฝ้าระวังอัจฉริยะด้วยเซ็นเซอร์สำหรับกลุ่มเปราะบางในภาคเหนือ รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
36 แผนงานฝุ่น PM 2.5 บูรณาการกลยุทธ์การลดฝุ่นละอองพิษ PM2.5 ในพื้นที่ทำการเกษตรด้วยนวัตกรรมการเกษตรและแนวปฏิบัติด้านการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมรายได้ทางเลือกและการเข้าถึงตลาดระดับพรีเมียม รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
37 แผนงานฝุ่น PM 2.5 นวัตกรรมแปรรูปจากชีวมวลข้าวโพดเพื่อลด PM2.5 ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสิทธิ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
38 แผนงานฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือด้วยนวัตกรรมบูรณาการเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืน รองศาสตราจารย์ ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
39 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การลดฝุ่น PM2.5 ด้วยการลดการเผาพื้นที่เกษตรโดยนำเปลือกและซังข้าวโพดที่เหลือทิ้งหลังจากเก็บเกี่ยวมาปรับปรุงโภชนะ ผศ.ดร.สุบรรณ ฝอยกลาง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
40 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การลด PM2.5 อย่างยั่งยืนจากนวัตกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงพาณิชย์ นางปองทิพย์ เที่ยงบูรณธรรม
บริษัท เฮซ ฟรี จำกัด
41 แผนงานฝุ่น PM 2.5 ระบบเกษตรทางเลือกเพื่อลดจุดความร้อน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว ผศ.ดร.มนตรี ปัญญาทอง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
42 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การพัฒนาเครือข่ายชุมชนการจัดการเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อลดจุดความร้อน hot spot และฝุ่นละอองขนาดเล็กจิ๋ว PM2.5 ในจังหวัดน่าน ผศ.ดร.เอกชัย ดวงใจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
43 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การปรับเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อลดจุดความร้อน (hot spot) และฝุ่นละอองขนาดเล็กจิ๋ว (PM2.5) สู่ห่วงโซ่ อุปทานใหม่ในอุตสาหกรรมการผลิตปศุสัตว์ ผศ.สพ.ญ.ดร.พชรพร ตาดี
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
44 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การจัดการเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อลดจุดความร้อน hot spot และฝุ่นละอองขนาดเล็กจิ๋ว PM2.5 ในภาคเหนือตอนบน รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
45 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การใช้เทคโนโลยีการจัดการแปลงแบบไม่เผา การปลูกถั่วลิสงหลังนา การผลิตอาหารโคเนื้อและถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ในข้าวโพดเพื่อเพิ่มมูลค่าและลดการเผาในพื้นที่จังหวัดลำปาง แพร่ พะเยา และน่าน รศ.ดร.วิรัตน์ วาณิชยศรีรัตนา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
46 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การปลูกเลี้ยงไม้ดอกไม้ประดับเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและลดมลภาวะฝุ่น PM2.5 ดร.อนันต์ พิริยะภัทรกิจ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
47 แผนงานฝุ่น PM 2.5 พัฒนาการปลูกไม้ดอก เพื่อลดการเผาพื้นที่การเกษตร สู่การท่องเที่ยววิถีใหม่ อ.ดร.นุชรัฐ บาลลา
มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
48 แผนงานฝุ่น PM 2.5 นวัตกรรมการพัฒนาขอนไม้เทียมที่ผลิตจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับใช้ในการเพาะเลี้ยงเศรษฐกิจสกุล Lentinus เพื่อสร้างรูปแบบการเพาะเลี้ยงสมัยใหม่ ดร.วรวุฒิ อ้ายดวง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
49 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การขยายผลและส่งเสริมแนวทางปฏิบัติที่ดีของการจัดการวัสดุเกษตรและการใช้นวัตกรรมจุลินทรีย์ย่อยตอซังข้าวและข้าวโพดในพื้นที่จังหวัดน่าน ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
50 แผนงานฝุ่น PM 2.5 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงเพื่อแก้ปัญหา PM2.5 ในพื้นที่ภาคเหนืออย่างยั่งยืน ผศ.ดร.วีรชัย อาจหาญ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
51 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การใช้ความรู้และนวัตกรรมการจัดการไฟป่าในการเสริมสร้างอาสาสมัครป้องกันไฟป่าหมอกควันจังหวัดลำพูนและจังหวัดแม่ฮ่องสอน นางวันเพ็ญ พรินทรากูล
สถาบันวิจัยหริภุญชัย
52 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การศึกษาวิจัยสร้างเครือข่ายแหล่งเรียนรู้อาสาชุมชนจัดการฝุ่นควันและไฟป่าลุ่มน้ำสายหลักจากมิติภูมิปัญญาชนเผ่า จังหวัดเชียงราย ผศ.ดร.สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
53 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การพัฒนาและเน้นศักยภาพอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ด้วยการใช้ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการจัดการไฟป่าโดยชุมชนอย่างยั่งยืนจากพื้นที่นำร่องสู่พื้นที่ขยายผล ในจังหวัดลำปาง นายชาญ อุทธิยะ
พี่เลี้ยงงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดลำปาง
54 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การพัฒนากระบวนการจัดการไฟป่า และความแห้งแล้งในพื้นที่เสี่ยงสูงภาคเหนือตอนบน โดยใช้เทคโนโลยีช่วยตัดสินใจและทฤษฎีป่าเปียก ผศ.ปริณวัฒน์ ธนศิรเธียรชัย
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
55 แผนงานฝุ่น PM 2.5 รูปแบบการบริหารจัดการไฟป่าแบบบูรณาการเพื่อลด PM2.5 โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและกระบวนการมีส่วนร่วมของสังคมในจังหวัดลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน ดร.กรด เหล็กสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
56 แผนงานฝุ่น PM 2.5 โครงการพัฒนาระบบตรวจจับและเฝ้าระวังไฟป่าแบบครบวงจร รศ.ดร.ปานใจ รทัศนวงศ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
57 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การลดฝุ่น PM2.5 จากภาคป่าไม้และการจัดการไฟในพื้นที่ป่าอย่างมีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วม ปีที่ 2 ผศ.ไพสิฐ พาณิชย์กุล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
58 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การใช้เห็ดป่าไมคอร์ไรซาเพื่อแก้ปัญหาไฟป่าหมอกควันอย่างยั่งยืน ผศ.ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
59 แผนงานฝุ่น PM 2.5 แนวทางป้องกันและควบคุมไฟป่าร่วมกับการทำเกษตรกรรมที่เหมาะสมเพื่อการบริหารจัดการสมดุลของป่าและน้ำอย่างยั่งยืน ผศ.ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
60 แผนงานฝุ่น PM 2.5 เครื่องตรวจวัดฝุ่นละอองในไอเสียรถยนต์แบบเวลาจริงและเคลื่อนย้ายได้โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ค่าความนำทางไฟฟ้า รศ.ดร.พานิช อินต๊ะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
61 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การขับเคลื่อนความร่วมมือ ไทย-ลาว-กัมพูชา ลดมลพิษหมอกควัน ดร.จีรนุช ศักดิ์คำดวง
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
62 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การลดการเผาในพื้นที่ป่าภาคเหนือด้วยนวัตกรรมและนโยบายแบบมีส่วนร่วม เพื่อการจัดฝุ่น PM2.5 แบบมุ่งเป้า รศ.ดร.สมพร จันทระ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
63 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การเพิ่มประสิทธิภาพ นวัตกรรม และการสื่อสารเชิงรุกในแผนนโยบายระดับจังหวัดเพื่อจัดการฝุ่น PM2.5 ในภาคเหนือตอนบน : แม่ฮ่องสอน ลำปาง เชียงใหม่ และลำพูน รศ.ดร.อรัญญา ศิริผล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
64 แผนงานฝุ่น PM 2.5 การจัดทำนโยบายการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการบริหารจัดการ PM2.5 ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ น่าน และแพร่ นางสาวรจนา ตั้งกุลบริบูรณ์
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
65 แผนงานพยาธิใบไม้ตับ โครงการสร้างการตระหนักรู้ให้กับประชาชนเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี รศ.ดร.วัชรินทร์ ลอยลม
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ระบบและการแพทย์เชิงคอมพิวเตอร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
66 แผนงานพยาธิใบไม้ตับ โครงการเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี รศ.ดร.วัชรินทร์ ลอยลม
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ระบบและการแพทย์เชิงคอมพิวเตอร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
67 แผนงานพยาธิใบไม้ตับ โครงการส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดพยาธิใบไม้ตับ นพ.ณัฐพล เอโกบล
สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
68 แผนงานพยาธิใบไม้ตับ โครงการสร้างระบบสุขาภิบาลเพื่อสิ่งแวดล้อมปลอดพยาธิใบไม้ตับ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จังโกฎิ
สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
69 แผนงานน้ำยั่งยืนไม่ท่วมไม่แล้ง การบริหารจัดการน้ำด้วยนวัตกรรมระบบสูบน้ำพลังงานทดแทนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน รองศาสตราจารย์ ดร.กันต์ อินทุวงศ์
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์